สำนึกต่อถิ่นที่: จุดตัดระหว่างมรดกสิ่งสร้างสรรค์และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ในสิงคโปร์
โดย Jack Tsen-Ta Lee
เผยแพร่เมื่อ 7 พฤษภาคม 2024
สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดทำ 'คลังความรู้พิทักษ์มรดกสยาม' ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งรวมความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ที่ท่านเข้าถึงได้
เครือข่ายบุคลากร : ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ในฐานข้อมูลนี้ ยินดีให้คำปรึกษาและช่วยเหลือในชั้นต้น ในฐานะผู้เชี่ยวชาญอิสระ หรือในสังกัดองค์กรที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยมีช่องทางติดต่อระบุไว้ให้แล้ว
มรดกวัฒนธรรม หมายถึง วัตถุ โบราณสถาน กลุ่มอาคารสถานที่ และขนบธรรมเนียม วิธีปฏิบัติ ที่ตกทอดมาแต่บรรพกาล วัตถุในพิพิธภัณฑ์ และศิลปะร่วมสมัย ซึ่งมีคุณค่าในทางศิลปะหรือประวัติศาสตร์ มรดกวัฒนธรรมมีทั้งมรดกที่จับต้องได้ (เคลื่อนย้ายได้ เคลื่อนย้ายไม่ได้ และใต้น้ำ รวมถึงมรดกอุตสาหกรรม และภาพเขียนฝาผนังก่อนประวัติศาสตร์) และมรดกที่จับต้องไม่ได้ (ICH) อันผูกพันอยู่กับวิถีชีวิตของชุมชนหรือกลุ่มคน รวมทั้งวัตถุ หรือสถานที่ ประเพณี การแสดงออก ความรู้ และวิถีปฏิบัติของบรรพชนที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อมา และตระหนักว่าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของตน
สำนึกต่อถิ่นที่: จุดตัดระหว่างมรดกสิ่งสร้างสรรค์และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ในสิงคโปร์
เผยแพร่เมื่อ 7 พฤษภาคม 2024
เหนือกว่าการประหยัดพลังงาน: ภูมิปัญญาท้องถิ่นและสถาปัตยกรรมยั่งยืนที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติ สิงคโปร์
เผยแพร่เมื่อ 4 เมษายน 2024
เยาวชนพื้นถิ่น วัฒนธรรม และการดำเนินการเพื่อสิ่งแวดล้อม
เผยแพร่เมื่อ 7 พฤษภาคม 2024
ตะลามปาม : โครงการฟื้นฟูวัฒนธรรมขมุและสร้างจินตนาการถึงสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
เผยแพร่เมื่อ 12 พฤษภาคม 2024
บ้าน มรดกวัฒนธรรม และธุรกิจการต้อนรับ: ประสบการณ์จากทะเลสาบอินเล
เผยแพร่เมื่อ 12 พฤษภาคม 2024
ย่านมรดก: ศรัทธา การพัฒนา และความท้าทายสมัยใหม่ต่อชุมชนท้องถิ่น
เผยแพร่เมื่อ 13 มกราคม 2024
พื้นที่ร่วมกัน มรดกร่วมกัน: พื้นที่เปิดในยุคอาณานิคมของฟิลิปปินส์
เผยแพร่เมื่อ 13 มกราคม 2024